วันเสาร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2554

ไม่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง จ้า ^^

ไม้ อย่าง ให้ประโยชน์ ประการ
การปลูกไม้ฟื้นฟูพื้นที่ต้นนํ้าตามแนวพระราชดำริ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
*************************
                พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงผลกระทบจากการบุกรุกทำลายป่าไม้ของประเทศไทย ซึ่งเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จนก่อให้เกิดภาวะแห้งแล้ง พื้นที่ต้นนํ้าลำธารเสื่อมโทรม ฤดูกาลเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพทางการเกษตร กลายเป็นปัญหาทุกข์ร้อนของประชากรส่วนใหญ่ในชนบท พระองค์ทรงมีพระราชดำริในการพัฒนาฟื้นฟูสภาพป่าไม้ ให้คืนกลับสู่สภาพธรรมชาติด้วยแนวทางผสมผสาน โดยการปลูกไม้ทดแทนควบคู่กับการพัฒนาอาชีพราษฎร ด้วยการวางแผนร่วมมือกันของทุกส่วนราชการ ในการดำเนินการปรับปรุงพัฒนาพื้นที่ให้สอดคล้องกับสภาพภูมิศาสตร์และสภาวะแวดล้อม
                 การปลูกไม้ 3 อย่าง ให้ประโยชน์ 4 ประการ ตามแนวพระราชดำรินั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานพระราชดำริ ไว้เมื่อปี 2519 ณ หน่วยพัฒนาต้นนํ้าทุ่งจ๊อ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ว่าการปลูกไม้ 3 อย่าง คือ ไม้ผล ไม้โตเร็ว และไม้เศรษฐกิจ จะทำให้เกิดป่าไม้แบบผสมผสานและสร้างความสมดุลแก่ธรรมชาติอย่างยั่งยืน สามารถตอบสนองความต้องการของรัฐและวิถีประชาในชุมชนอันเป็นทฤษฎีการปลูกต้นไม้ลงในใจคน โดยการปลูกฝังจิตสำนึกแก่ประชาชนให้ปลูกต้นไม้ลงแผ่นดินและรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง
                และในการฟื้นฟูพื้นที่ต้นนํ้าตามแนวพระราชดำริ ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งพระองค์ทรงพระราชทานแนวพระราชดำริ ให้จัดตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 11 ธันวาคม พ.. 2525 เพื่อศึกษาหารูปแบบในการพัฒนาที่เหมาะสมในพื้นที่ต้นนํ้าลำธารนั้น พระองค์ทรงมีพระราชดำริ แนวทางในการปลูกไม้ฟื้นฟูสภาพป่าต้นนํ้าว่า การปลูกป่าถ้าจะให้ราษฎรมีประโยชน์ให้เขาอยู่ได้ให้ปลูกไม้ 3 อย่าง ให้ประโยชน์ 4 อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้ ไม้เศรษฐกิจ หรือ ไม้ผล ไม้สร้างบ้าน และไม้ฟืน ซึ่งจะให้ประโยชน์ 4 ประการ คือ ได้ใช้สอยและเศรษฐกิจ ไม้ฟืน ไม้กินได้ และประการสุดท้าย คือ สามารถช่วยอนุรักษ์ดินและต้นนํ้าลำธารด้วย
                ประเภทไม้ 3 อย่างที่เหมาะสมแก่การใช้ปลูก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเน้นให้ใช้พันธุ์ไม้ที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่น เพราะเป็นไม้ที่สามารถเจริญเติบโตได้ดี มีลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่อยู่แล้ว ไม่เป็นการเสี่ยงต่อภาวะการรอดตายและการเจริญเติบโต เป็นและที่รู้จักของราษฎรในท้องถิ่นอย่างดี พื้นที่ที่เหมาะสมแก่การปลูกไม้ป่าดังกล่าว ควรเป็นพื้นที่ที่มีสภาพเสื่อมโทรม หรือเป็นบริเวณป่าเพื่อการพึ่งพิงของราษฎรที่อยู่บริเวณใกล้ๆหมู่บ้าน วิธีการปลูกก็ให้ปลูกเสริมในลักษณะธรรมชาติ โดยไม่จับต้นไม้เข้าแถว ซึ่งการปลูกเสริมตามลักษณะธรรมชาตินี้ เมื่อต้นไม้โตขึ้นก็จะมีสภาพเป็นป่าตามธรรมชาติ โดยจะไม่มีลักษณะเป็นสวนป่าที่มีต้นไม้เรียงเป็นแถว

ไม้ 3 อย่าง ลักษณะไม้ 3 อย่าง เป็นชนิดไม้ที่มีความสัมพันธ์เกื้อกูลกับวิถีชีวิตของชุมชน คือ     

                1. ไม้ใช้สอยและเศรษฐกิจ เป็นชนิดไม้ที่ชุมชนนำไปใช้ในการปลูกสร้างบ้านเรือน โรงเรือน เครื่องเรือน คอกสัตว์ เครื่องมือในการเกษตร เช่น เกวียน คันไถ ด้ามจอบ เสียม และมีด รวมทั้งไม้ที่สามารถนำมาทำเป็นเครื่องจักรสาน กระบุง ตะกร้า เพื่อนำไปใช้นำครัวเรือน และเมื่อมีพัฒนาการทางฝีมือก็สามารถจัดทำเป็นอุตสาหกรรมครัวเรือน นำไปจำหน่ายเป็นรายได้ของชุมชน ซึ่งเรียกว่า เป็นไม้เศรษฐกิจของชุมชน ได้แก่ มะขามป่า สารภี ซ้อ ไผ่หก ไผ่ไร่ ไผ่บง ไผ่ซาง มะแฟน สัก ประดู่ กาสามปีก จำปี จำปา ตุ้ม ทะโล้ หมี่ ยมหอม กฤษณา นางพญาเสือโคร่ง ไก๋ คูณ ยางกราด กระถิน เก็ดดำ มะหาด ไม้เติม มะห้า มะกอกเกลื้อน งิ้ว ตีนเป็ด ยมหอม มะขม มะแข่น สมอไทย ตะคร้อ เสี้ยว บุนนาค ปีบ ตะแบก ตอง คอแลน รัง เต็ง แดง พลวง พะยอม ตะเคียน ฮักหลวง เป็นต้น




                2. ไม้ฟืนเชื้อเพลิงของชุมชน ชุมชนในชนบทต้องใช้ไม้ฟืน เพื่อการหุงต้มปรุงอาหาร สร้างความอบอุ่นในฤดูหนาว สุมควายตามคอก ไล่ยุง เหลือบ ริ้น ไร รวมทั้งไม้ฟืนในการนึ่งเมี่ยง และการอบถนอมอาหาร ผลไม้บางชนิด ไม้ฟืนมีความจำเป็นที่สำคัญ หากไม่มีการจัดการที่ดีไม้ธรรมชาติที่มีอยู่จะไม่เพียงพอในการใช้ประโยชน์ ความอัตคัดขาดแคลนจะเกิดขึ้น ดังนั้นจะต้องมีการวางแผนการปลูกไม้โตเร็วขึ้นทดแทนก็จะทำให้ชุมชนมีไม้ฟืนใช้ได้อย่างเพียงพอ ได้แก่ ไม้หาด สะเดา เป้าเลือด มะกอกเกลื้อน ไม้เต้าหลวง กระท้อน ขี้เหล็ก ตีนเป็ด ยมหอม ลำไยป่า มะขม ดงดำ มะแขว่น สมอไทย ตะคร้อ ต้นเสี้ยว บุนนาค ตะแบก คอแลน แดง เต็ง รัง พลวง ติ้ว หว้า มะขามป้อม แค ผักเฮือด เมี่ยง มะม่วงป่า มะแฟน กาสามปีก มันปลา นางพญาเสือโคร่ง มะมือ ลำไย รกฟ้า ลิ้นจี่



                3. ไม้อาหารหรือไม้กินได้ ชุมชนดั้งเดิมเก็บหาอาหารจากแหล่งธรรมชาติ ทั้งการไล่ล่าสัตว์ป่าเป็นอาหาร รวมทั้งพืชสมุนไพร อดีตแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์จึงเป็นแหล่งอาหารเสริมสร้างพลานามัย การปลูกไม้ที่สามารถให้หน่อ ใบ ดอก ผล ใช้เป็นอาหารได้ก็จะทำให้ชุมชนมีอาหารและสมุนไพร ในธรรมชาติเสริมสร้างสุขภาพให้มีกินมีใช้อย่างไม่ขาดแคลน ได้แก่ มะหาด ฮ้อสะพายควาย เป้าเลือด บุก กลอย งิ้ว กระท้อน ขี้เหล็ก มะขม มะแข่น สมอไทย ตะคร้อ เสี้ยว คอแลน ผักหวานป่า มะไฟ มะขามป้อม มะเดื่อ มะปีนดง เพกา แค สะเดา เมี่ยง มะม่วงป่า มะแฟน มะเม่า หวาย ดอกต้าง กระถิน ก่อเดือย หว้า กล้วย ลำไย มะกอกเกลื้อน มะระขี้นก ประคำดีควาย ตะคร้อ กระบก ผักปู่ย่า มะเฟือง แคหางค่าง ขนุน มะปราง มะหลอด คอแลน มะเม่า ส้มป่อย



ประโยชน์ 4 ประการ ไม้ 3 อย่าง เมื่อปลูกไปแล้วจะก่อให้เกิดประโยชน์ 4 ประการ คือ
                1. ในสภาพปัจจุบันป่าไม้ลดลงเป็นจำนวนมาก ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างทั่วถึง และเพียงพอ ดังนั้น เมื่อมีการปลูกไม้ที่มีความเหมาะสมและมีคุณสมบัติที่ดีเพื่อการใช้สอยและสามารถนำมาใช้เสริมสร้างอาชีพได้ โดยมีการวางแผนอย่างมีส่วนร่วมและดูแลรักษาก็จะทำให้ชุมชนมีไม้ไว้ใช้สอยอย่างไม่ขาดแคลน และจะไม่สร้างผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่และหากมีการปลูกในปริมาณที่มากพอ ชุมชนก็สามารถนำมาเสริมสร้างอาชีพเสริมได้ทำให้ชุมชนมีรายได้เสริมให้มีความอยู่ดีกินดีขึ้น



                2. ไม้ฟืนเป็นวัสดุเชื้อเพลิงพื้นฐานของชุมชน หากชุมชนไม่มีไม้ฟืนไว้สนับสนุนกิจกรรมครัวเรือน ชุมชนจะต้องเดือดร้อนและสิ้นเปลืองเงินทอง เพื่อการจัดหาแก๊สหุงต้ม หรือจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อการจัดหาวัสดุเชื้อเพลิงประเภทอื่นๆ



                3. พืชอาหารและสมุนไพรรวมทั้งสัตว์แมลง ที่ชุมชนสามารถเก็บหาได้จากธรรมชาติจะเป็นอาหารที่มีคุณค่าปลอดสารพิษ อันเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย อีกทั้งถ้ามีปริมาณเกินกว่าที่ต้องการแล้วยังสามารถใช้เป็นสินค้าเสริมสร้างรายได้อีกทางหนึ่งด้วย



                4. เมื่อมีการปลูกไม้เจริญเติบโตเป็นพื้นที่ขยายมากเพิ่มขึ้น และมีการปลูกเสริมคุณค่าป่าด้วยพันธุ์ต่างๆ ทำให้เกิดความหลากหลายและเป็นการอนุรักษ์ดินและนํ้า รวมทั้งก่อให้เกิดการอนุรักษ์พื้นที่ต้นนํ้าลำธาร

วันศุกร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2554

ไม้ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง !!!

ไม้ อย่าง ให้ประโยชน์ ประการ
การปลูกไม้ฟื้นฟูพื้นที่ต้นนํ้าตามแนวพระราชดำริ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
*************************
                พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงผลกระทบจากการบุกรุกทำลายป่าไม้ของประเทศไทย ซึ่งเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จนก่อให้เกิดภาวะแห้งแล้ง พื้นที่ต้นนํ้าลำธารเสื่อมโทรม ฤดูกาลเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพทางการเกษตร กลายเป็นปัญหาทุกข์ร้อนของประชากรส่วนใหญ่ในชนบท พระองค์ทรงมีพระราชดำริในการพัฒนาฟื้นฟูสภาพป่าไม้ ให้คืนกลับสู่สภาพธรรมชาติด้วยแนวทางผสมผสาน โดยการปลูกไม้ทดแทนควบคู่กับการพัฒนาอาชีพราษฎร ด้วยการวางแผนร่วมมือกันของทุกส่วนราชการ ในการดำเนินการปรับปรุงพัฒนาพื้นที่ให้สอดคล้องกับสภาพภูมิศาสตร์และสภาวะแวดล้อม
การปลูกไม้ 3 อย่าง ให้ประโยชน์ 4 ประการ ตามแนวพระราชดำรินั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานพระราชดำริ ไว้เมื่อปี 2519 ณ หน่วยพัฒนาต้นนํ้าทุ่งจ๊อ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ว่าการปลูกไม้ 3 อย่าง คือ ไม้ผล ไม้โตเร็ว และไม้เศรษฐกิจ จะทำให้เกิดป่าไม้แบบผสมผสานและสร้างความสมดุลแก่ธรรมชาติอย่างยั่งยืน สามารถตอบสนองความต้องการของรัฐและวิถีประชาในชุมชนอันเป็นทฤษฎีการปลูกต้นไม้ลงในใจคน โดยการปลูกฝังจิตสำนึกแก่ประชาชนให้ปลูกต้นไม้ลงแผ่นดินและรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง
                และในการฟื้นฟูพื้นที่ต้นนํ้าตามแนวพระราชดำริ ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งพระองค์ทรงพระราชทานแนวพระราชดำริ ให้จัดตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 11 ธันวาคม พ.. 2525 เพื่อศึกษาหารูปแบบในการพัฒนาที่เหมาะสมในพื้นที่ต้นนํ้าลำธารนั้น พระองค์ทรงมีพระราชดำริ แนวทางในการปลูกไม้ฟื้นฟูสภาพป่าต้นนํ้าว่า การปลูกป่าถ้าจะให้ราษฎรมีประโยชน์ให้เขาอยู่ได้ให้ปลูกไม้ 3 อย่าง ให้ประโยชน์ 4 อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้ ไม้เศรษฐกิจ หรือ ไม้ผล ไม้สร้างบ้าน และไม้ฟืน ซึ่งจะให้ประโยชน์ 4 ประการ คือ ได้ใช้สอยและเศรษฐกิจ ไม้ฟืน ไม้กินได้ และประการสุดท้าย คือ สามารถช่วยอนุรักษ์ดินและต้นนํ้าลำธารด้วย
                ประเภทไม้ 3 อย่างที่เหมาะสมแก่การใช้ปลูก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเน้นให้ใช้พันธุ์ไม้ที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่น เพราะเป็นไม้ที่สามารถเจริญเติบโตได้ดี มีลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่อยู่แล้ว ไม่เป็นการเสี่ยงต่อภาวะการรอดตายและการเจริญเติบโต เป็นและที่รู้จักของราษฎรในท้องถิ่นอย่างดี พื้นที่ที่เหมาะสมแก่การปลูกไม้ป่าดังกล่าว ควรเป็นพื้นที่ที่มีสภาพเสื่อมโทรม หรือเป็นบริเวณป่าเพื่อการพึ่งพิงของราษฎรที่อยู่บริเวณใกล้ๆหมู่บ้าน วิธีการปลูกก็ให้ปลูกเสริมในลักษณะธรรมชาติ โดยไม่จับต้นไม้เข้าแถว ซึ่งการปลูกเสริมตามลักษณะธรรมชาตินี้ เมื่อต้นไม้โตขึ้นก็จะมีสภาพเป็นป่าตามธรรมชาติ โดยจะไม่มีลักษณะเป็นสวนป่าที่มีต้นไม้เรียงเป็นแถว

ไม้ 3 อย่าง ลักษณะไม้ 3 อย่าง เป็นชนิดไม้ที่มีความสัมพันธ์เกื้อกูลกับวิถีชีวิตของชุมชน คือ         

                1. ไม้ใช้สอยและเศรษฐกิจ เป็นชนิดไม้ที่ชุมชนนำไปใช้ในการปลูกสร้างบ้านเรือน โรงเรือน เครื่องเรือน คอกสัตว์ เครื่องมือในการเกษตร เช่น เกวียน คันไถ ด้ามจอบ เสียม และมีด รวมทั้งไม้ที่สามารถนำมาทำเป็นเครื่องจักรสาน กระบุง ตะกร้า เพื่อนำไปใช้นำครัวเรือน และเมื่อมีพัฒนาการทางฝีมือก็สามารถจัดทำเป็นอุตสาหกรรมครัวเรือน นำไปจำหน่ายเป็นรายได้ของชุมชน ซึ่งเรียกว่า เป็นไม้เศรษฐกิจของชุมชน ได้แก่ มะขามป่า สารภี ซ้อ ไผ่หก ไผ่ไร่ ไผ่บง ไผ่ซาง มะแฟน สัก ประดู่ กาสามปีก จำปี จำปา ตุ้ม ทะโล้ หมี่ ยมหอม กฤษณา นางพญาเสือโคร่ง ไก๋ คูณ ยางกราด กระถิน เก็ดดำ มะหาด ไม้เติม มะห้า มะกอกเกลื้อน งิ้ว ตีนเป็ด ยมหอม มะขม มะแข่น สมอไทย ตะคร้อ เสี้ยว บุนนาค ปีบ ตะแบก ตอง คอแลน รัง เต็ง แดง พลวง พะยอม ตะเคียน ฮักหลวง เป็นต้น

                2. ไม้ฟืนเชื้อเพลิงของชุมชน ชุมชนในชนบทต้องใช้ไม้ฟืน เพื่อการหุงต้มปรุงอาหาร สร้างความอบอุ่นในฤดูหนาว สุมควายตามคอก ไล่ยุง เหลือบ ริ้น ไร รวมทั้งไม้ฟืนในการนึ่งเมี่ยง และการอบถนอมอาหาร ผลไม้บางชนิด ไม้ฟืนมีความจำเป็นที่สำคัญ หากไม่มีการจัดการที่ดีไม้ธรรมชาติที่มีอยู่จะไม่เพียงพอในการใช้ประโยชน์ ความอัตคัดขาดแคลนจะเกิดขึ้น ดังนั้นจะต้องมีการวางแผนการปลูกไม้โตเร็วขึ้นทดแทนก็จะทำให้ชุมชนมีไม้ฟืนใช้ได้อย่างเพียงพอ ได้แก่ ไม้หาด สะเดา เป้าเลือด มะกอกเกลื้อน ไม้เต้าหลวง กระท้อน ขี้เหล็ก ตีนเป็ด ยมหอม ลำไยป่า มะขม ดงดำ มะแขว่น สมอไทย ตะคร้อ ต้นเสี้ยว บุนนาค ตะแบก คอแลน แดง เต็ง รัง พลวง ติ้ว หว้า มะขามป้อม แค ผักเฮือด เมี่ยง มะม่วงป่า มะแฟน กาสามปีก มันปลา นางพญาเสือโคร่ง มะมือ ลำไย รกฟ้า ลิ้นจี่

                3. ไม้อาหารหรือไม้กินได้ ชุมชนดั้งเดิมเก็บหาอาหารจากแหล่งธรรมชาติ ทั้งการไล่ล่าสัตว์ป่าเป็นอาหาร รวมทั้งพืชสมุนไพร อดีตแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์จึงเป็นแหล่งอาหารเสริมสร้างพลานามัย การปลูกไม้ที่สามารถให้หน่อ ใบ ดอก ผล ใช้เป็นอาหารได้ก็จะทำให้ชุมชนมีอาหารและสมุนไพร ในธรรมชาติเสริมสร้างสุขภาพให้มีกินมีใช้อย่างไม่ขาดแคลน ได้แก่ มะหาด ฮ้อสะพายควาย เป้าเลือด บุก กลอย งิ้ว กระท้อน ขี้เหล็ก มะขม มะแข่น สมอไทย ตะคร้อ เสี้ยว คอแลน ผักหวานป่า มะไฟ มะขามป้อม มะเดื่อ มะปีนดง เพกา แค สะเดา เมี่ยง มะม่วงป่า มะแฟน มะเม่า หวาย ดอกต้าง กระถิน ก่อเดือย หว้า กล้วย ลำไย มะกอกเกลื้อน มะระขี้นก ประคำดีควาย ตะคร้อ กระบก ผักปู่ย่า มะเฟือง แคหางค่าง ขนุน มะปราง มะหลอด คอแลน มะเม่า ส้มป่อย

ประโยชน์ 4 ประการ ไม้ 3 อย่าง เมื่อปลูกไปแล้วจะก่อให้เกิดประโยชน์ 4 ประการ คือ
                1. ในสภาพปัจจุบันป่าไม้ลดลงเป็นจำนวนมาก ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างทั่วถึง และเพียงพอ ดังนั้น เมื่อมีการปลูกไม้ที่มีความเหมาะสมและมีคุณสมบัติที่ดีเพื่อการใช้สอยและสามารถนำมาใช้เสริมสร้างอาชีพได้ โดยมีการวางแผนอย่างมีส่วนร่วมและดูแลรักษาก็จะทำให้ชุมชนมีไม้ไว้ใช้สอยอย่างไม่ขาดแคลน และจะไม่สร้างผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่และหากมีการปลูกในปริมาณที่มากพอ ชุมชนก็สามารถนำมาเสริมสร้างอาชีพเสริมได้ทำให้ชุมชนมีรายได้เสริมให้มีความอยู่ดีกินดีขึ้น

                2. ไม้ฟืนเป็นวัสดุเชื้อเพลิงพื้นฐานของชุมชน หากชุมชนไม่มีไม้ฟืนไว้สนับสนุนกิจกรรมครัวเรือน ชุมชนจะต้องเดือดร้อนและสิ้นเปลืองเงินทอง เพื่อการจัดหาแก๊สหุงต้ม หรือจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อการจัดหาวัสดุเชื้อเพลิงประเภทอื่นๆ

                3. พืชอาหารและสมุนไพรรวมทั้งสัตว์แมลง ที่ชุมชนสามารถเก็บหาได้จากธรรมชาติจะเป็นอาหารที่มีคุณค่าปลอดสารพิษ อันเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย อีกทั้งถ้ามีปริมาณเกินกว่าที่ต้องการแล้วยังสามารถใช้เป็นสินค้าเสริมสร้างรายได้อีกทางหนึ่งด้วย

                4. เมื่อมีการปลูกไม้เจริญเติบโตเป็นพื้นที่ขยายมากเพิ่มขึ้น และมีการปลูกเสริมคุณค่าป่าด้วยพันธุ์ต่างๆ ทำให้เกิดความหลากหลายและเป็นการอนุรักษ์ดินและนํ้า รวมทั้งก่อให้เกิดการอนุรักษ์พื้นที่ต้นนํ้าลำธาร

วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2554

..............!!! " ~


 พี่เก้า าาา า า า า า ^^~     น่ารักอ้า !!

 เด็กหญิงอภิสรา  วนกรกุล  ชั้น ม. 2/1  เลขที่ 28

รีทัช....ใบหน้าคน ^^~



รีทัช....!!! "  น่าร๊าก ก ก ก  กก ^^~

เด็กหญิงอภิสรา  วนกรกุล  ชั้น ม. 2/1  เลขที่ 28

ดวงตา าา า า า า า ^^~



  ดวงตา  ^__________^  

  เด็กหญิงอภิสรา  วนกรกุล  ชั้น ม.2/1  เลขที่  28 .

อักษร นูน น น นน น :" ) ) )


อักษรนูน น น นน น^^   เขื่อนภูมิพล !

เด็กหญิงอภิสรา  วนกรกุล  ชั้น ม.2/1  เลขที่  28

รุ้งกินน้ำ ยามเช้า ^^~


รุ้ง กิน น้ำ ^^~

เด็กหญิงอภิสรา  วนกรกุล  ชั้น ม.2/1  เลขที่ 28

เมฆ' รูป หัวใจ ♥ หัวใจ ^^~



 เมฆ รูป หัวใจ'  ♥   ร๊าก  ก ก ก ก >////<   ♥ 

 เด็กหญิงอภิสรา  วนกรกุล   ชั้น ม.2/1  เลขที่  28

ตัวอักษรแตก ก ก ก กก ก ก >_<" !


อักษรแตก ค่า าา า าาา า า า ^^~

เด็กหญิงอภิสรา  วนกรกุล  ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 28

รุ้งกินน้ำกลางทะเล ^^~


รุ้งดื่มน้ำค่ะ,,, อาจารย์  O_o" ???!  อิอิ  

เด็กหญิงอภิสรา   วนกรกุล  ชั้น ม. 2/1  เลขที่  28

วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ค้นหาเหรียญปลอม หาได้ไหมเอ่ย?

วิธีการคิดนะคะ
1. ให้แบ่งเหรียญออกเป็น 3 กอง กองละ 3 เหรียญค่ะ
2. นำเหรียญ 2กองแรก ไปชั่งบนเครื่องชั่ง  ***  กรณีแรก  ถ้า 2 กองแรกที่ชั่ง มีด้านใดด้านหนึ่งเอียง  แสดงว่า  เหรียญปลอมอยู่ในกองที่เอาชั่งค่ะ
 ***  กรณีที่สอง  ถ้าเท่ากัน แสดงว่า  เหรียญที่เบาอยู่ในกองที่ไม่ได้ชั่ง

นำกองที่สันนิษฐานว่ามีเหรียญที่เบา (1 กองจะมี 3 เหรียญ) นำ2เหรียญชั่ง                                                                                      -ถ้าตาชั่งเอียง เหรียญเบาอยู่บนตาชั่ง
ถ้าตาชั่งไม่เอียงเหรียญเบา คือเหรียญที่ไม่ได้ชั่ง ค่ะ
*****  ปล. ต้องขอโทษอาจารย์ด้วยนะคะ ที่ตอบโพสช้าไปหน่อยค่ะ  *****
เด็กหญิงอภิสรา  วนกรกุล  ชั้น ม. 2/1  เลขที่  28  ค่ะ ^^

วันจันทร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2554

สัญลักษณ์ของผังงาน^^


สัญลักษณ์ของผังงาน ค่ะ^^
เด็กหญิงอภิสรา  วนกรกุล  ชั้น ม.2/1  เลขที่  28

การ์ดวันแม่^^~


การ์ดวันแม่ค่ะ ^^

เด็กหญิงอภิสรา วนกรกุล  ชั้น ม.2/1   เลขที่  28

วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

3.  คุณธรรม - จริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต

นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีบริการโต้ตอบแบบออนไลน์ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Chat ดังนั้นในการสนทนาจะต้องมีมารยาท อีกอย่างหนึ่งว่า Chat ดังนั้นในการสนทนาจะต้องมีมารยาทสำคัญดังนี้· ควรเรียกสนทนาจากผู้ที่เรารู้จักและต้องการสนทนาด้วย หรือมีเรื่องสำคัญที่จะติดต่อด้วย
· ควรใช้วาจาสุภาพและให้เกียรติซึ่งกันและกัน
· ก่อนเรียกสนทนา ควรตรวจสอบสถานะการใช้งานของคู่สนทนาที่ต้องการเรียก เพราะการเรียกแต่ละครั้งจะมีข้อความไปปรากฎบนจอภาพ ของฝ่ายที่ถูกเรียกซึ่งจะทำให้สร้างปัญหาในการทำงานได้
·การใช้บริการกระดานข่าวหรือเว็บบอร์ด



บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีบริการกระดานข่าวหรือเว็บบอร์ดให้ผู้ใช้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือข้อมูลข่าวสารถึงกัน ดังนั้นในการใช้ บริการควรเคารพกฎ กติกา มารยาทดังนี้· ในการเขียนพาดพิงถึงผู้อื่น ให้ระมัดระวังการระเมิดหรือสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น
· ไม่ควรนำข้อความที่ผู้อื่นเขียน ไปกระจายต่อโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเข้าของเรื่อง
· ไม่ควรใช้ข้อความขบขัน คำเฉพาะ คำกำกวม และคำหยาบคายในการเขียนข่าว
· ในการเขียนคำถามลงในกลุ่มข่าวจะต้องเขียนให้ตรงกับกลุ่มและเมื่อจะตอบต้องตอบให้ตรงประเด็น

ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

2. จงกล่าวถึงรูปแบบการเผยแพร่สารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมา 2 รูปแบบ
อนาคตของสังคมไทยกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

“ สังคมไร้พรมแดน ” เป็นสัญลักษณ์แห่งโลกยุคปัจจุบัน เพราะมนุษย์ในสังคมทุกมุมโลกสามารถติดต่อสื่อสารรับทราบข่าวสารข้อมูลถึงกันได้อย่างไม่มีอุปสรรคและพรมแดน อันเป็นผลมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศนั่นเอง ปัจจุบันนี้เราอยู่ในสังคม
ที่เรียกว่า” สังคมสารสนเทศหรือสังคมข่าวสาร ( The information society ) เป็นสังคมที่มีการใช้สารสนเทศรูปแบบต่างๆเพื่อประกอบการตัดสินใจทั้งเพื่อประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม การใช้สารสนเทศและบริการประเภทต่างๆนี้อาทิเช่น
การรวบรวมและการจัดเก็บสารสนเทศ ให้เป็นระบบระเบียบเพื่อประสิทธิภาพในการค้นหาและเรียกใช้ในภายหลัง , การผลิต
สารสนเทศที่เป็นเอกสารและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ , การเผยแพร่สารสนเทศบนสัญญาณสื่อสารทุกรูปแบบ , การใช้สารสนเทศ
เฉพาะงานได้แก่ การเรียนการสอน , การแพทย์ , การออกแบบ , การก่อสร้าง , การบัญชี , การธนาคาร , การอุตสาหกรรม , ศิลปะ,การ์ตูน ,โลกเสมือนจริง , ระบบผู้เชี่ยวชาญเป็นต้น ในสังคมสารสนเทศนี้ สิ่งสำคัญอันจะทำให้เราได้รับสารสนเทศที่มีคุณภาพ ตรงกับความต้องการและทันเวลานั่นก็คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology หรือ IT)
สังคมสารสนเทศจึงมีคุณลักษณะที่สรุปได้ในศตวรรษที่ 21 คือ เป็นสังคมที่มีการใช้สารสนเทศที่บันทึกอยู่บนสื่อที่เป็นเอกสาร , สิ่งพิมพ์และไม่ตีพิมพ์ , สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เสียง ภาพ ฯลฯ เป็นปัจจัยสำคัญอีกประการหนึ่งในการดำรงชีวิตและ
ดำเนินงานทุกประเภท เป็นสังคมที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการได้มา ,จัดเก็บ , ประมวลผล , สืบค้น และเผยแพร่
สารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้อย่างรวดเร็วถูกต้องและทันเวลา เป็นสังคมที่มีการใช้ผลิตภัณฑ์หรืออุปกรณ์ที่มีไมโครโพรเซสเซอร์เป็นตัวควบคุมการทำงานได้แก่ เครื่องอำนวยความสะดวกในบ้านและสำนักงาน อาทิเช่น หม้อหุงข้าวไฟฟ้า , เตาไมโครเวฟ ,เครื่องซักผ้า ฯลฯ เป็นสังคมที่ผู้ใช้สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ด้วยตนเองทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม
ดังนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์นานัปการ อันนำมาซึ่งการเพิ่มผลผลิตและการเพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบการด้านต่างๆอย่างมากมายมหาศาล
สิ่งที่ปรากฎให้เห็นและทราบกันอยู่ในปัจจุบัน ที่ชัดเจนก็คือมีการใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer- PCs) กันอย่างแพร่หลาย และมีการใช้จากระบบเครือข่ายสารสนเทศอย่างกว้างขวาง คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เพื่อให้สามารถนำไปใช้งานในด้านต่างๆได้แทบทุกประเภทแทบทุกอย่างที่มนุษย์ต้องการ ไม่ว่าจะเป็น การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail), การใช้ตู้ ATM ,การติดต่อค้าขายด้วยระบบ EDI ( Electronic Data Interchange), การจองตั๋วเครื่องบินและตั๋วรถไฟ ,
การค้นหาข้อมูลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต , การประชุมทางไกล เป็นต้น รวมทั้งมีการใช้หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรมและเพื่อประโยชน์ด้านอื่นๆอีกมากมาย เนื่องจากคอมพิวเตอร์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีหลายระบบ , หลายขนาด และหลายขีดความสามารถ รวมทั้งราคาจัดว่าถูกลงเมื่อเทียบกับพัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีที่สูงขึ้น เราสามารถนำคอมพิวเตอร์ไปใช้งานด้านระบบการจ่ายเงินเดือน , ระบบบัญชี , การขายและการตลาด , การออกแบบและการผลิต , งานด้านเอกสาร , การวิจัยและพัฒนา , งานจัดเก็บ
ข้อมูลจำนวนมาก , ระบบความปลอดภัย , การทดสอบด้านวิทยาศาสตร์ , การเกษตร ,การวินิจฉัยโรค ฯลฯ
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องเล่นซีดี เปรียบเสมือนผ้าใบสำหรับนักวาดภาพ เปรียบเสมือนโรงพิมพ์ที่ผลิตเอกสารต่างๆ เป็นที่รวบรวมเกมเพื่อความสนุกสนานของผู้เล่น เป็นห้องทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในการศึกษาองค์ประกอบของสารเคมี เป็นห้องทำงานของสถาปนิกและวิศวกรในการออกแบบเครื่องบิน , คำนวณน้ำหนักและส่วนประกอบของเครื่อง เป็นนาฬิกาปลุกเมื่อต้องการให้ส่งสัญญาณเตือนเกี่ยวกับเวลา เป็นเสมือนสารานุกรมที่สามารถบันทึกความรู้ได้จากทั่วทุกมุมโลก คอมพิวเตอร์รับใช้มนุษย์ได้อย่างเหลือคณานับ แต่ในบรรดาสิ่งที่มนุษย์ต้องการให้คอมพิวเตอร์อำนวยความสะดวกให้นี้ คอมพิวเตอร์เข้าใจแต่เพียงกระแสไฟฟ้าที่ส่งเข้าไปหล่อเลี้ยงวงจรเล็กๆบนแผงวงจรที่เรียกว่า ชิบ( chips) เท่านั้น นับเป็นสิ่งที่น่าอัศจรรย์ยิ่ง ที่เพียง
กระแสไฟฟ้าซึ่งมีสถานะปิดและเปิดก็สามารถบันดาลสิ่งที่มนุษย์ต้องการได้นานับประการ ไม่เว้นแม้แต่ในเรื่องการศึกษาที่
โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ซึ่งสามารถจัดให้มีการเรียนการสอนได้ทุกที่ ทั้งที่บ้าน , ที่โรงเรียนหรือที่ใดๆที่เกี่ยวข้อง โดยที่ผู้เรียนหรือผู้ที่ศึกษาไม่ต้องเข้ามานั่งในห้องเรียนหรือเรียกว่า “ Virtual school” คอมพิวเตอร์ช่วยให้ความสะดวก และโอกาสเช่นนี้
เกิดขึ้นได้โดยการทำงานของเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั่นเอง
ในยุคของดิจิทัลเช่นปัจจุบันนี้ สารสนเทศหรือข้อมูลข่าวสารที่เผยแพร่ไปยังผู้ใช้โดยไม่จำกัดระยะทางและเวลา นับเป็นความคุ้นเคยในชีวิตประจำวัน ดังจะเห็นได้จากการเผยแพร่ข่าวสารทางโทรทัศน์ , ทางโทรศัพท์ , ทางภาพยนต์ , ทางคอมพิวเตอร์ หรือแม้แต่ในรูปแบบของหนังสือตำราเรียนหรือหนังสือพิมพ์ ล้วนแล้วแต่มีพัฒนาการออกมาในรูปของดิจิทัล เช่น ซีดี-รอม , ดีวีดี , เลเซอร์ ฯลฯ อีกทั้งยังสามารถเชื่อมต่อกัน เพื่อให้สารสนเทศในรูปของดิจิทัล ได้เผยแพร่และแบ่งปันกันในรูปของระบบเครือข่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน มีผู้ประกอบวิชาชีพเฉพาะด้านซึ่งใช้ความรู้และความถนัดในแต่ละสาขาวิชา ( Knowledge workers ) เพิ่มมากขึ้นนับเป็นล้านๆคนทั่วโลก และจะทวีจำนวนขึ้นอีกเนื่องจากประเทศต่างๆได้ขยายระบบการศึกษาออกไปสู่ประชากรของตนมากยิ่งขึ้น ดังนั้นความต้องการและความจำเป็นในการได้รับข่าวสาร ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่มประชากรจึงมีมากขึ้นตามลำดับด้วย เมื่อเป็นเช่นนี้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ด้านเดียวย่อมไม่สามารถตอบสนองความต้องการใช้สารสนเทศอันหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีการผนวก “ เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูลหรือเทคโนโลยีสื่อสารคมนาคมเข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือเรียกสั้นๆ ว่า เครือข่าย (networks) ขึ้น
ระบบเครือข่าย (networks) สามารถสื่อสารข้อมูลและส่งผ่านสารสนเทศอันเป็นผลของการทำงานที่มีประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ โดยผ่านอุปกรณ์การสื่อสารข้อมูลเพื่อให้มนุษย์สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเพื่อให้ผู้ใช้ในสถานที่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานอยู่ในสำนักงาน , องค์กรภายในประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศติดต่อสื่อสารกันได้อย่างทั่วถึง และสามารถออกไปสู่ผู้ใช้ได้อย่างกว้างขวางและไกลมากยิ่งขึ้น เป็นการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลความรู้ ควบคู่ไปกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ทำให้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งหลายในโลก สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างไร้พรมแดน เป็นเสมือนการย่อโลกมาอยู่หมู่บ้านเดียวกัน
        ประเทศต่างๆทั่วโลก เสมือนหนึ่งเป็นสังคมของหมู่บ้านที่มีการติดต่อสื่อสารภายใต้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐบาล และธุรกิจรูปแบบต่างๆ การคมนาคม , สถาบันการศึกษา , โรงงาน
อุตสาหกรรม ที่ตั้งอยู่ในประเทศทั่วโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างรวดเร็ว โดยมีอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นช่องสื่อสารประเภทต่างๆเช่น ดาวเทียม , ไมโครเวฟ , สายใยแก้ว ฯลฯ เป็นเครื่องส่งผ่านข้อมูลและสารสนเทศระหว่างผู้ส่งและผู้รับได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นระยะทางจึงมิใช่อุปสรรคในการติดต่อสื่อสารของมนุษย์อีกต่อไป และกล่าวได้ว่าปัจจุบันเราอยู่ในหมู่บ้านแห่งเดียวกันคือ หมู่บ้านแห่งโลก ( Global Village ) ซึ่งมนุษย์ทั่วทุกมุมโลกสามารถค้นคว้าหาความรู้และสารสนเทศต่างๆจากฐานข้อมูลนับพันนับหมื่น การศึกษาค้นคว้าสามารถทำได้ทั้งแนวลึกและแนวนอน ธุรกิจต่างๆสามารถติดต่อผ่านระบบเครือข่ายทำให้เกิด
ความรวดเร็ว สามารถตรวจสอบข้อมูลทางธุรกิจได้อย่างทันท่วงที สนองความต้องการของสังคมทุกมุมโลก ก่อให้เกิด
ความเป็นสากลในการบริโภคสินค้า , บริการการศึกษา และการดำรงชีวิตด้านต่างๆตามมา การคมนาคมทั้งทางบกและทางอากาศมีความสะดวกและปลอดภัยสูงขึ้นเนื่องจากผู้โดยสารสามารถจองตั๋วและซื้อตั๋ว ผ่านระบบเครือข่ายได้ในทุกชุมชนทั่วโลก ข่าวสารของประเทศต่างๆทั่วโลก ทั้งด้านธุรกิจ , การเมือง , การศึกษา , วัฒนธรรม , เทคโนโลยี ฯลฯ สามารถส่งผ่านถึงกันได้อย่างทั่วถึงและตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
บนผืนแผ่นดินไทยอันกว้างใหญ่ไพศาล อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรมากมายหลากหลายชนิด ศูนย์รวมแห่งอารยธรรมที่ซึ่งสั่งสมมาเป็นเวลาหลายร้อยหลายพันปี จนก่อเกิดเป็นประเทศไทยเฉกเช่นทุกวันนี้ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้หลั่งไหลเข้ามาในประเทศอย่างไม่ขาดสาย จนกระทั่งได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งที่ขาดเสียมิได้ในการดำเนินชีวิตของคนไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคที่สังคมโลกตระหนักถึงความสำคัญของข้อมูลสารสนเทศ คอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่าย ได้เป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาค้นคว้า , การจัดการธุรกิจ , การปกครอง , ความมั่นคงของชาติ ตลอดจนการสันทนาการและบันเทิง ปัจจุบันเราสามารถค้นคว้าข้อมูลได้จากทั่วโลก , สามารถซื้อขายสินค้าผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสามารถติดต่อกับบุคคล , สถาบัน , องค์กรได้อย่างไร้พรมแดน และกล่าวได้ว่าปัจจุบันเราอยู่ในหมู่บ้านเดียวกันคือ “ หมู่บ้านแห่งโลก(Global Village) จึงเป็นที่มาของคำว่า สังคมไร้พรมแดน ”

ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

  1. ข้อควรระวัง ในการสืบค้นข้อมูลจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีอะไรบ้าง
การป้องกันรักษาความปลอดภัยจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เบื้องต้น
      การใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
n      เราจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราปลอดภัยได้อย่างไร ?
n   เราจะปกป้องข้อมูลส่วนตัวของเราได้อย่างไร ?
n   เราจะเชื่อถือการซื้อขายสินค้าออนไลน์ได้หรือไม่ ?
n   เราจะหลีกเลี่ยงการหลอกลวง กับดัก และปัญหาต่างๆ ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้อย่างไร ?

ภัยคุกคามจากอินเทอร์เน็ต
n  SPAM-EMAIL
n  Spyware Attacks
n  Malware Attacks
n  Phishing
n  Hacker Attacks and Google Hacking Method
n  Peer-to-Peer
n  Wireless Network Threat
n  SPIM (Spam Instant Messaging)
n  Virus and Worm Attacks
n  PDA Malware Attack

วิธีการปกป้องตนเองจากสปายแวร์และซอฟท์แวร์หลอกลวง
n อย่าดาวน์โหลดจากแหล่งที่คุณไม่รู้จัก การป้องกันไวรัสจากซอฟท์แวร์จอมลวงที่ดีที่สุด คือ การไม่ดาวน์โหลดมันเสียตั้งแต่แรก
¨ ติดตั้งซอฟท์แวร์จากเว็บไซท์ที่ไว้วางใจได้เท่านั้น
¨ อ่านที่ตัวหนังสือเล็กๆ ให้ดี เมื่อมีการติดตั้งโปรแกรม ต้องแน่ใจว่าได้อ่านข้อความให้เข้าใจ ก่อคลิก “Agree” หรือ “o.k” อย่าคลิก “yes” หรือ “I accept” เพียงเพราะต้องการจะให้ผ่าน ๆ ไป
¨ ระวังเรื่องเพลงป๊อปฟรีและโปรแกรมหนังร่วมกัน. การฟังเพลงฟรี หรือ โปรแกรมหนัง ดัง ต้องให้ความระมัดระวัง จากข้อมูลทางสถิติพบว่าคนส่วนใหญ่มักเข้าไปติดกับดักของซอฟท์แวร์หลอกลวงเหล่านี้
n สังเกตอาการเตือนจากซอฟท์แวร์หลอกลวง ซึ่งปรากฏบนเครื่องพีซีมีหลายทางที่สามารถบอกคุณได้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณติดไวรัส

การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล
n   ประวัติบุคคลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Profile)
            เมื่อผู้ใช้กรอกข้อมูลส่วนตัวลงในแบบฟอร์มต่าง ๆ เช่น การลงทะเบียน (Register) เพื่อสมัครขอใช้บริการทางอินเตอร์เน็ต ข้อมูลส่วนบุคคลเหล่านี้จะถูกจัดเก็บลงในฐานข้อมูล ซึ่งทางเว็บไซต์หรือผู้ดูแลเว็บไซต์จะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ โดยต้องไม่อนุญาตให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าถึงข้อมูลเหล่านั้นได้ ตัวอย่างเช่น ผู้ใช้กรอกข้อมูลส่วนบุคคลลงในแบบฟอร์มการลงทะเบียนออนไลน์
n Cookies  เป็นไฟล์ข้อมูลขนาดเล็กที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) ใช้เก็บข้อมูลลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้  ไฟล์ Cookies จะมีข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับผู้ใช้ เช่น ชื่อผู้ใช้ สิทธิพิเศษต่าง ๆ หรือหมายเลขบัตรเครดิต เป็นต้น
n สำหรับเว็บไวต์ทางธุรกิจส่วนใหญ่จะมีการส่ง Cookies ไปยังเว็บบราวเซอร์ของผู้ใช้ จากนั้นคอมพิวเตอร์จะทำการจัดเก็บ Cookies เหล่านั้นลงในหน่วยจัดเก็บของเครื่องคอมพิวเตอร์ (ฮาร์ดดิสก์) เมื่อผู้ใช้กลับมาใช้งานเว็บไซต์ที่เว็บเพจนั้นอีกครั้งจะทำให้ทราบได้ว่าผู้ใช้คนใดเข้ามาในระบบและจัดเตรียมเพจที่เหมาะสมกับการใช้งานให้อัตโนมัติ

แนวทางปฏิบัตในการป้องกันตัวเองจากภัยคุกคามต่างๆ
1. ติดตั้งโปรแกรมตรวจสอบไวรัส
2. เปิดการทำงานของ Window Firewall
3. ทำ Software Update
¨Window Update
¨Update virus pattern file
4. สร้าง password ที่ยากต่อการคาดเดา และไม่ควรให้เครื่องจำ password
5. ป้องกันตนเองจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตในที่สาธารณะ
6. แนวทางสำหรับการรับส่งเมล์เพื่อลดปัญหาสแปมเมล์

วันอังคารที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2554

แนะนำตัวเองค่าา าา า ^^

สวัสดีค่ะ  อาจารย์..พุธชาติ!!


หนูชื่อ.. เด็กหญิงอภิสรา  วนกรกุล  ชื่อเล่น.. พลอย ค่ะ 

นักเรียน โรงเรียนตากพิทยาคม  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1

ปีการศึกษา 2554   ภาคเรียนที่ 1  ^^


เสนอ...
       
   อาจารย์พุธชาติ  มั่นเมือง  :')